การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย(Simpleharmonic Motion)

การเคลื่อนที่ของสิ่งต่างๆ
เช่น การแกว่งชิงช้า การแกว่งของลูกตุ้ม
การเคลื่อนที่ของมวลที่ติดกับปลายแผ่นสปริง
การเคลื่อนที่ขึ้นลงของผิวน้ำขณะเกิดคลื่นผิวน้ำ
การเคลื่อนที่ของสิ่งเหล่านี้แตกต่างจากการเคลื่อนที่แบบอื่นอย่างไร
การเคลื่อนที่ของชิงช้า
ลูกตุ้มและมวลที่ปลายแผ่นสปริงมีลักษณะที่เหมือนกัน คือ
ถ้าเราเริ่มสังเกตวัตถุดังกล่าวจะเคลื่อนที่ผ่านตำแหน่งสมดุลไปในทิศทางหนึ่งและอัตราเร็วจะลดลงเรื่อยๆจนหยุด
แล้วเคลื่อนที่ย้อนกลับมาตามแนวทางเดิม โดยอัตราเร็วเพิ่มขึ้นเรื่อยๆและมีอัตราเร็วสูงสุดเมื่อผ่านตำแหน่งสมดุล
จากนั้นอัตราเร็วจะลดลงจนหยุดอีกครั้งหนึ่ง
การเคลื่อนที่ของวัตถุติดสปริงบนพื้นราบ
ในรูป วางมวลไว้บนพื้นราบ ผูกวัตถุเข้ากับปลายหนึ่งของสปริงโดยที่อีกปลายหนึ่งของสปริงผูกติดกับผนัง วัตถุจะอยู่นิ่งๆ บนพื้นในตำแหน่งสมดุล เมื่อดึงวัตถุออกจากตำแหน่งสมดุลแล้วปล่อยให้วัตถุเคลื่อนที่บนพื้นราบ วัตถุจะเคลื่อนที่กลับไปกลับมาผ่านตำแหน่งสมดุลและซ้ำเส้นทางเดิมการเคลื่อนที่ในลักษณะนี้มีจำนวนมาก เช่น การสั่นของสายไวโอลินเมื่อถูกสี การสั่นของกลองเมื่อถูกตี การเคลื่อนที่ของวัตถุที่ติดปลายลวดสปริง การเคลื่อนที่ของโมเลกุลอากาศเมื่อเคลื่อนเสียงส่งผ่าน การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนในสายอากาศของเครื่องส่งวิทยุ เป็นต้น ปริมาณที่สำคัญอย่างหนึ่งของการเคลื่อนที่ในลักษณะนี้ คือ ความถี่ ซึ่งหมายถึงจำนวนรอบของการเคลื่อนที่ใน 1 วินาที แทนสัญลักษณ์ f มีหน่วยเป็นเฮิรตซ์ (Hz) ซึ่ง 1 Hz =

ความถี่จะเป็นส่วนกลับกับคาบ ดังสมการ (4.13) คาบคือ เวลาในการเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ ใช้สัญลักษณ์ T แทนคาบ คาบมีหน่วยเป็นวินาที (s)

การเคลื่อนที่ใดๆ ซึ่งเคลื่อนที่กลับไปมาซ้ำทางเดิม โดยผ่านตำแหน่งสมดุลและคาบของการเคลื่อนที่คงตัว ดังแสดงด้วยกราฟของการเคลื่อนที่ในแนวแกน x ดังรูป 4.24 เรียกว่า การเคลื่อนที่แบบพีริออดิก(periodic motion)
กราฟของการเคลื่อนที่แบบพีริออดิก ทางแกน x
การเคลื่อนที่แบบพีริออดิกชนิดหนึ่งที่กราฟของการกระจัดกับเวลาอยู่ในรูปของฟังก์ชันไซน์หรือโคไซน์ความถี่คงที่มีค่าที่แน่นอนค่าเดียว เรียกว่า การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (simple harmonic motion) นั่นคือ การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายเป็นการเคลื่อนที่แบบพีริออดิกอย่างหนึ่ง อาจจะเรียกย่อๆ ว่า การเคลื่อนที่แบบ SHM การกระจัดทาง x ในรูปฟังก์ชันของเวลา t ของ SHM โดยทั่วไปเขียนเป็นสมการได้เป็น

ซึ่ง











จากสมการ (4.14) เมื่อเขียนกราฟระหว่างการกระจัดกับเวลา โดยมี



กราฟระหว่างการกระจัดกับเวลาของฟังก์ชันรูปไซน์
และ
</b>


การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย จึงอาจจะเขียนได้ในรูป

ถ้าอนุภาคเริ่มต้นเคลื่อนที่จากตำแหน่งสมดุล (x = 0) ซึ่งจะมีลักษณะเช่นเดียวกับกราฟของ

สรุปได้ว่า สำหรับ การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย คือการเคลื่อนที่ซึ่งมีการกระจัดเป็นฟังก์ชันของเวลาเป็นฟังก์ชันรูปไซน์
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายเทียบกับการเคลื่อนที่เป็นวงกลม
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิ้ลฮาร์มอนิก
มีลักษณะคล้ายกับการเคลื่อนที่แบบวงกลม กล่าวคือ
มีการเคลื่อนที่กลับไปกลับมาซ้ำรอยเดิม เมื่อการเคลื่อนที่ครบรอบ ดังนั้น
การศึกษาปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แบบซิมเปิ้ลฮาร์มอกนิก จึงสามารถศึกษาได้จาก
เงาของวัตถุที่เคลื่อนที่แบบวงกลมในระนาบดิ่ง ที่ตกกระทบไปยังระนาบในแนวดิ่ง
และในแนวระดับ ดังภาพ
การหาปริมาณต่างๆ
ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แบบซิมเปิ้ลฮาร์มอนิก เช่น การกระจัด ความเร็ว
และความเร่งของนุภาค ณ ตำแหน่งต่างๆ เมื่อเวลาผ่านไป t ทั้งในแนวระดับและในแนวดิ่ง
สามารถหาได้โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ในแนววงกลม
เมื่อเวลาผ่านไป t ให้อนุภาคเคลื่อนที่ในแนวเฉพาะส่วนโค้งของวงกลมจากตำแหน่ง
A ไปอยู่ตำแหน่ง B ทำมุมที่จุดศูนย์กลาง
ซึ่งเท่ากับ
ดังรูป


การหาการกระจัดในแนวระดับและในแนวดิ่ง
จากรูป พิจารณาในแนวระดับ จะได้
พิจารณาในแนวดิ่ง จะได้
พิจารณาความเร็วของเงาของอนุภาค
จากรูป ณ ตำแหน่ง B มีขนาด v
ซึ่งเท่ากับซึ่งเท่ากับ


การหา
และ
XXXXXจากรูปXXXXXX


XXXXXXXXXXXXXXX

XXXXXและXXXXXXX

XXXXXXXXXXXXXX

XXXXXจากXXXXXXX

XXXXXXXXXXXXXX

XXXXXแทนค่า

XXXXXได้ว่าXXXXX

XXXXXXXXXXXX

XXXXXและXXXXX

XXXXXXXXXXXX

XXXXXเครื่องหมาย

XXXXXพิจารณาความเร่งของเงาของอนุภาค จากรูป ณ ตำแหน่ง B มีความเร่ง a ซึ่งเท่ากับ





XXXXXจากรูปXXXXX

XXXXXหรือXXXXXX

XXXXXและXXXXXX

XXXXXXXXXXXXX

XXXXXหรือ XXXXX

XXXXXจากสมการที่ได้ออกมาเครื่องหมายมีค่าติดลบ (-) หมายความว่า ณ ตำแหน่ง B ความเร่ง a มีทิศตรงข้ามกับการกระจัด


การหาอัตราเร็วสูงสุด (


XXXXXจากXXXXX

XXXXXณ ตำแหน่งสมดุล

XXXXXได้ว่าXXXXX

XXXXXดังนั้นXXXXX

XXXXXจากXXXXXXXXX

XXXXXณ ตำแหน่งไกลสุด y มากสุดเท่ากับ A a มีค่ามากที่สุด
XXXXXได้ว่าXXXXX

ถ้านำดินน้ำมันก้อนโตพอเหมาะติดไว้ที่ขอบวงล้อกลมหรือแผ่นไม้วงกลมซึ่งหมุนได้คล่องในแนวระดับ เมื่อหมุนวงล้อให้อัตราเร็วเชิงมุมสม่ำเสมอ ดินน้ำมันจะเคลื่อนที่ในแนววงกลมด้วยอัตราเร็วสม่ำเสมอด้วย เมื่อฉายลำแสงขนานในแนวระดับไปที่ดินน้ำมัน ดังรูป เงาของดินน้ำมันจะปรากฏบนฉากข้างหลัง โดยการเคลื่อนที่ของเงาจะกลับไปกลับมาในแนวตรงเป็นแบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การฉายแสงผ่านวัตถุที่เคลื่อนที่เป็นวงกลม ปรากฏเงาบนฉากเป็น SHM
พิจารณาการเคลื่อนที่แบบวงกลมสัมพันธ์กับการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิค (S.H.M)
จากภาพจะเห็นว่าเมื่อวัตถุสีเหลืองเคลื่อนที่เป็นวงกลม เงาของวัตถุบนฉากจะเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงกลับไป
กลับมา เรียกการเคลื่อนที่แบบซ้ำรอยเดิมนี้ว่า การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิค (Simple Harmonic Motion)
หรือการเคลื่อนที่แบบ S.H.M
เงาบนฉากของวัตถุที่เคลื่อนที่เป็นวงกลม ก็เหมือนกบการคิดองค์ประกอบทาง x ของการเคลื่อนที่ของจุดๆ หนึ่งเป็นวงกลมบนระนาบ xy ดังรูป 4.27 ให้ที่ขณะหนึ่งจุดนั้นอยู่ที่ตำแหน่งมุม



และองค์ประกอบของความเร็วบนแกน x คือ

จุด P เคลื่อนที่เป็นวงกลมอย่างสม่ำเสมอบนระนาบ xy
จากความเร่งในทิศเข้าหาจุดศูนย์กลางมีขนาดเท่ากับ



จะเห็นว่าตำแหน่งทาง x ในสมการ (4.16) เป็นอย่างเดียวกับสมการ (4.14) เมื่อ เมื่อ เมื่อ เมื่อ


สมการ (4.19) แสดงลักษณะสำคัญประการหนึ่งของการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย นั่นคือ การมีความเร่งเป็นปฎิภาคกับการกระจัดแต่มีทิศตรงกันข้าม เนื่องจาก

สำหรับการเคลื่อนที่ของดินน้ำมันไปตามแนววงกลม เมื่อเคลื่อนที่ครบ 1 รอบใช้เวลาที่เรียกว่าหนึ่งคาบ (period) หรือ T หนึ่งรอบหมายถึงดินน้ำมันจะเคลื่อนที่ไป







การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายของรถติดสปริง
เมื่อดึงรถทดลองให้สปริงยึดและรถออกจากตำแหน่งสมดุลเป็นระยะ A จะได้การกระจัดของรถทดลองมีค่า A และมีแรง




เมื่อปล่อยมือ แรง








จากนั้นรถทดลองจะเคลื่อนที่ออกจากตำแหน่งสมดุลไปทางซ้ายต่อไปอีก และอัดลวดสปริงให้หดสั้น ลวดสปริงก็จะออกแรง


(3).jpg)
กราฟของการกระจัดของเวลาสำหรับหนึ่งรอบของการเคลื่อนที่
เมื่อพิจารณาการเคลื่อนที่ของรถทดลองติดปลายสปริงที่เคลื่อนที่ แรงที่สปริงกระทำต่อรถทดลองจะมีค่าเป็น F = - kx ถ้าให้ m เป็นมวลของรถทดลอง และ a เป็นความเร่งของรถทดลอง จากกฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 2 ของนิวตัน
จะได้ F = ma = - kx
และ

นั่นคือ การเคลื่อนที่ของรถทดลองติดสปริงเป็นการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่าง่ายเช่นเดียวกับการเคลื่อนที่ของเงาของดินน้ำมัน มีความเร่งแปรผันตรงกับการกระจัด แต่มีทิศตรงกับข้าม
เทียบสมการ ( 4.20) กับสมการ (4.19) จะเห็นว่า ความเร่งคือ

ดังนั้น


ความถี่เชิงมุมของการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย มีความสัมพันธ์กับค่าคงตัวของสปริง และมวลของวัตถุที่ติดกับสปริง ดังสมการ 4.21
การแกว่งของลูกตุ้มอย่างง่าย
ลูกตุ้มอย่างง่ายคือ ลูกตุ้มที่ประกอบด้วยมวลขนาดเล็ก ตามอุดมคติเป็นจุด แขวนที่ปลายด้ายหรือเชือกอ่อน โดยธรรมชาติวัตถุแขวนห้อยในแนวดิ่งเป็นตำแหน่งสมดุล เมื่อดึงวัตถุให้เอียงทำมุมเล็กๆ กับแนวดิ่งแล้วปล่อยให้วัตถุเคลื่อนที่แกว่งกลับไปมา ซึ่งจะพิสูจน์ได้ว่าเป็นการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
ลูกตุ้มอย่างง่ายคือ ลูกตุ้มที่ประกอบด้วยมวลขนาดเล็ก ตามอุดมคติเป็นจุด แขวนที่ปลายด้ายหรือเชือกอ่อน โดยธรรมชาติวัตถุแขวนห้อยในแนวดิ่งเป็นตำแหน่งสมดุล เมื่อดึงวัตถุให้เอียงทำมุมเล็กๆ กับแนวดิ่งแล้วปล่อยให้วัตถุเคลื่อนที่แกว่งกลับไปมา ซึ่งจะพิสูจน์ได้ว่าเป็นการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
ขณะเส้นเชือกเอียงทำมุมกับแนวดิ่งมีแรงกระทำเข้าหาจุดสมดุล
พิจารณาลูกตุ้มที่ผูกติดกับเชือกเบา
แล้วแกว่งไปมาในแนวดิ่งในทำนองเดียวกับการแกว่งของลูกตุ้มนาฬิกา โดยกำหนดให้
m เป็นมวลของลูกตุ้ม
L เป็นความยาวของเส้นเชือก
Q เป็นมุมที่เส้นเชือกทำกับแนวดิ่ง
จาก รูป จะ เห็น ว่า ใน ขณะ ที่ ลูก ตุ้ม อยู่ ใน แนว
กับแนว ดิ่ง การ ขจัด จะ เป็น x ซึ่ง ถ้า
เป็น มุม เล็ก ๆ จะ ได้ ว่า x = L
ดัง นั้น การ ขจัด ของ วัตถุ อาจ จะ เขียน ได้ ว่า เป็น x หรือ เป็น
ก็ ได้ เมื่อ พิจารณา แรง น้ำ หนัก mg ของ ลูก ตุ้ม ก็ สามารถ แตก แรง นี้ ออก เป็น 2 ส่วน คือ mgcos
อยู่ ใน แนว เดียวกับเส้น เชือก และ mg sin
ซึ่ง อยู่ ใน แนว เส้น สัมผัส แรง mg sin
นี่ เอง ที่ เป็น แรง ดึง กลับ ที่ กระ ทำ ต่อ ลูก ตุ้ม







นั่น คือ แรง ดึง กลับ = F = mg sin

ใน ขณะ ที่ ระยะ ทางของ วัตถุ = x = LQ
ดัง นั้น แรง ดึง กลับ จึง ไม่ แปรผัน โดย ตรงกับระยะ ทาง การ แก ว่ง ของ ลูก ตุ้ม นาฬิกา ไม่ น่า เป็น SHM แต่ ถ้า มุม
มี ค่า น้อย ๆ จะ ได้ ว่า ใน หน่วยเรเดีย น



ดัง นั้น แรง ดึง กลับ = F = mg 

ระยะ ทาง = x = LQ
นั่น คือ การ แกว่ง ของ ลูก ตุ้ม นาฬิกา ที่ มี มุม
น้อย ๆ จึง เป็น SHM

พิจารณา แรง ดึง กลับ

จาก รูป เมื่อ
น้อย ๆ จะ ได้



ดัง นั้น F = mg

จาก กฎ ข้อ 2 ของ นิวตัน
ดัง นั้น ความ เร่ง ของ ตุ้ม นาฬิกา = a = 

เนื่อง จาก การ เคลื่อน ที่ ของ ลูก ตุ้ม เป็น SHM
ดัง นั้น a =
2x

นั่นคือ
2x = g


หรือ
2 = 




โดย w เป็นความถี่เชิงมุม (angular frequency) = 2
f

ดังนั้น
= 2
f = 










ลูกตุ้มมวล m จะมีแรงสองแรงกระทำต่อมวล m คือ น้ำหนักของลูกตุ้ม mg และแรงดึงในเส้นเชือก T ซึ่งทำมุม
เรเดียนกับแนวดิ่ง ดังรูป สองแรงนี้รวมกันได้แรงลัพธ์เป็น
ตามแนวเส้นสัมผัสซึ่งตั้งฉากกับเส้นเชือก
เนื่องจากแรง mg สามารถคิดแยกออกเป็น 2 แรงในแนวตั้งฉากกัน ดังรูป จะเห็นว่าแรง
เป็นแรงที่ดึงมวล m กลับสู่ตำแหน่งสมดุล ให้แรงนี้เป็นแรง F ขณะที่
มีขนาดเท่ากับ T ทำให้เชือกตึงยาวเท่าเดิม เมื่อคำนึงถึงทิศด้วย แรงลัพธ์ F คือ

ถ้ามุม
เป็นมุมเล็กๆ การเคลื่อนที่โค้งประมาณได้ว่าเป็นเส้นตรง คือการกระจัด x และ
จะได้
จากกฎการเคลื่อนที่ข้อที่สองของนิวตัน F = ma
จะได้
จะเห็นว่า ความเร่งของลูกตุ้มแปรผันตรงกับการกระจัด และมีทิศตรงกันข้ามการแกว่งของลูกตุ้มจึงเป็นการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายด้วย
เนื่องจากอัตราเร่งของการแกว่ง
ดังนั้น
จาก
จะได้
(4.22)
หรือ
(4.23)
สมการ (4.23) อาจนับว่าเป็นสมการที่ทำนายคาบของลูกตุ้มอย่างง่ายจากที่ได้วิเคราะห์มาตามหลักการของการเคลื่อนที่ที่ต้องเป็นไปตามกฎของนิวตัน


เนื่องจากแรง mg สามารถคิดแยกออกเป็น 2 แรงในแนวตั้งฉากกัน ดังรูป จะเห็นว่าแรง



ถ้ามุม


จากกฎการเคลื่อนที่ข้อที่สองของนิวตัน F = ma
จะได้


จะเห็นว่า ความเร่งของลูกตุ้มแปรผันตรงกับการกระจัด และมีทิศตรงกันข้ามการแกว่งของลูกตุ้มจึงเป็นการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายด้วย
เนื่องจากอัตราเร่งของการแกว่ง

ดังนั้น

จาก


หรือ

สมการ (4.23) อาจนับว่าเป็นสมการที่ทำนายคาบของลูกตุ้มอย่างง่ายจากที่ได้วิเคราะห์มาตามหลักการของการเคลื่อนที่ที่ต้องเป็นไปตามกฎของนิวตัน
โจทย์การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
วิดีโอแสดงการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
แหล่งที่มาที่ใช่ประกอบบทความ
http://www.school.net.th/library/snet3/supinya/harmonic-pen/pendulum.htm