วันอาทิตย์ที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

Firecracker Motion


 การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์  (Projectile  Motion)
 
 
 
 
ลักษณะการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์

         การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ เป็นการเคลื่อนที่ 2 แนวพร้อมกัน คือ แนวระดับ และแนวดิ่ง ซึ่งพบว่า ความเร็วในแนวระดับ ไม่มีผลต่อการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง โดยจากการทดลองปล่อยวัตถุให้ตกอย่างอิสระ พร้อมกับวัตถุที่ถูกดีดออกไปในแนวระดับ พบว่า เมื่อใช้แรงมากวัตถุที่ถูกดีดจะตกไกล แต่ตกถึงพื้นพร้อมกับวัตถุที่ตกในแนวดิ่ง แสดงว่า การเคลื่อนที่ในแนวระดับไม่มีผลต่อการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง ดังนั้นเราจึงแยกพิจารณาการเคลื่อนที่ออกเป็น 2 แนว คือ ในแนวดิ่ง และในแนวระดับ


          การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ มีการเคลื่อนที่ 2 แนว คือ ในแนวระดับ และในแนวดิ่ง

        การเคลื่อนที่ในแนวระดับ

XXXXXพิจารณาการเคลื่อนที่ของวัตถุในอากาศ ขณะที่วัตถุลอยในอากาศ มีแรงกระทำต่อวัตถุเพียงแรงเดียว คือ แรงดึงดูดของโลก (ไม่คิดแรงต้านอากาศ) ในทิศเข้าสู่ศูนย์กลางของโลก หรือในแนวดิ่ง ดังนั้น ในแนวระดับจึงไม่มีแรงกระทำต่อวัตถุ หรือแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุในแนวระดับเป็นศูนย์

                                                              ()

XXXXXจากกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน เราพบว่า เมื่อไม่มีแรงลัพธ์มากระทำต่อวัตถุ วัตถุจะรักษาสภาพการเคลื่อนที่ให้คงที่ ผลคือ วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่
()


XXXXXดังนั้น การเคลื่อนที่ในแนวระดับของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ สามารถหาการกระจัดในแนวระดับได้ตามสมการ

XXXXXXXXXXXXXXX


XXXXXเมื่อXXXSx =  การกระจัดในแนวระดับ  ( m )

XXXXXXXXXXux =  ความเร็วในแนวระดับ  (m/s)

XXXXXXXXXXt   =  ช่วงเวลาของการเคลื่อนที (s)



การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ในแนวระดับ

การเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง

XXXXXเมื่อพิจารณาการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง พบว่า วัตถุมีแรงกระทำในแนวดิ่ง คือ แรงโน้มถ่วงของโลก
ดังนั้น วัตถุเคลื่อนที่ในแนวดิ่งด้วยความเร่ง ay ซึ่งมีค่าเท่ากับ ความเร่งเนื่องจากความโน้มถ่วงของโลก

 XXXXXดังนั้น การเคลื่อนที่ของวัตถุแบบโพรเจกไทล์ในแนวดิ่ง เหมือนวัตถุที่ตกอย่างอิสระทุกประการ ซึ่งสมการการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวดิ่ง คือ

XXXXXความเร็วXXXXX

   
          การกระจัดXXX                

     
XXXXXโดยที่

XXXXX


การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ในแนวดิ่ง

สรุปการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
                                                               
                                            
XXXXX1. วัตถุเคลื่อนที่อย่างอิสระ มีแรงดึงดูดของโลก       กระทำเพียงแรงเดียว
                                          
XXXXX2. วัตถุต้องมีความเร็วต้นในแนวระดับ (  ) ส่วนในแนวดิ่ง (   ) จะมีหรือไม่ก็ได้ โดย ความเร็วในแนวระดับคงที่เสมอ

XXXXX3. เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ในแนวระดับ เท่ากับ ในแนวดิ่ง

XXXXX4. การพิจารณาปริมาณในแนวดิ่ง ปริมาณที่มีทิศตรงข้ามกับความเร็วต้น (   ) ให้มีเครื่องหมายติดลบ เช่น การขว้างวัตถุขึ้นในแนวดิ่ง พบว่า เป็นต้น

XXXXX5. การคำนวณปริมาณต่างในการเคลื่อนที่ ใช้สมการการเคลื่อนที่เหมือนการเคลื่อนที่ในแนวตรง แต่แยกพิจารณาในแนวดิ่ง (ความเร็วคงที่) และในแนวระดับ (การตกอย่างอิสระ)



ตัวอย่าง 1 ขว้างลูกบอลออกจากที่สูง 5 เมตรออกไปในแนวระดับด้วยความเร็ว 10 เมตรต่อวินาที จงหา

XXXXXก.  นานเท่าไรลูกบอลตกถึงพื้นด้านล่าง

XXXXXข.  ลูกบอลตกถึงพื้นห่างจากตำแหน่งที่ขว้างเท่าไร

แนวคิด เขียนรูปแสดงแนวการเคลื่อนที่พร้อมใส่รายละเอียดที่โจทย์กำหนดให้



XXXXXเมื่อรู้XX
XXXXXXXXX


XXXXXก. ต้องการหาเวลา t (พิจารณาในแนวดิ่ง)
                                         จาก
XXXXXXXXXX                           
          
XXXXXXXXXXXXX
XXXXXXXXดังนั้น วัตถุตกถึงพื้นในเวลา 1 วินาที
                                     
XXXXXข. หาตำแหน่งที่ลูกบอลตกถึงพื้นจากตำแหน่งที่ขว้าง
                                    

XXXXXXXXจากXX              
        

XXXXXXXXXXXX    
XXXXXXXXดังนั้น ลูกบอลตกถึงพื้นห่างจากตำแหน่งที่ขว้าง 10 เมตร



ตัวอย่าง 2 จะต้องขว้างวัตถุจากดาดฟ้าตึกสูง 20 เมตร ออกไปในแนวระดับด้วยความเร็วเท่าใด วัตถุจึงตกกระทบพื้นล่างในทิศทำมุม 450 กับแนวระดับ

แนวคิด เขียนรูปแสดงการเคลื่อนที่

       
       

          จากโจทย์          ทำมุม 450 กับแนวระดับ แสดงว่า
จากโจทย์หา ก่อน เมื่อรู้
   
XXXXXจากXXXXX

                                         
             หา
XX
XXXXXได้ว่าXXX

XXXXXXXXXXX              


XXXXXดังนั้น ต้องขว้างวัตถุออกไปด้วยความเร็ว 20 เมตรต่อวินาที



โจทย์เกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์



1. ชายคนหนึ่งขว้างลูกบอลขึ้นไปจากพื้นดิน  ทำมุม     กับแนวระดับ   ลูกบอลลอยอยู่ในอากาศ  3s  จึงตกถึงพื้น  ถ้าไม่คิดแรงเสียดทานของอากาศและ    g  =  10 m/s2 
 จงหา
ก.    ลูกบอลจะขึ้นไปสูงสุดเท่าไร
ข.   ถ้าลูกบอลไปตกที่ระยะ  90 m   จากจุดที่ขว้าง ความเร็วตามแนวราบที่จุดเริ่มต้นเป็นเท่าไร
ค.  ค่า  tan     เท่ากับเท่าไร
 
 

 
 
 




2. ชายคนหนึ่งเล็งปืนตรงไปยังกระป๋องเหล็กซึ่งติดกับแม่เหล็กไฟฟ้าอันหนึ่ง  เมื่อลูกปืนหลุดจากปากกระบอกวงจรจะขาดทันที ถ้าคิดว่าเขาเล็งได้แม่นยำและความเร็วของลูกปืนตอนออกจากปากกระบอกเป็น 10 เมตรต่อวินาที  ลูกปืนจะถูกกระป๋องพอดีตอนกระป๋องตกลงมาได้กี่เมตร

  3. ระเบิดลูกหนึ่งถูกปาด้วยความเร็ว  50 เมตร/วินาที   ในทิศทำมุมเงย 37o   จงหา

        ก.    ความสูงของระเบิด

        ข.   เวลาที่ระเบิดกระทบเป้าหมาย

        ค.    ระยะห่างของเป้าหมายกับจุดเริ่มต้น

        ง.    ความเร็วของระเบิดเมื่อขึ้นไปได้ 5 วินาที

        จ.    อัตราส่วนระหว่างระยะสูงสุดกับระยะทางในแนวราบ

        ฉ.    ถ้าเป้าหมายอยู่ต่ำกว่าจุดเริ่มปา  35 เมตร  นานเท่าไรระเบิดจึงกระทบเป้า





วิดีโอการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์


 


 
 
 
 
 
 
แหล่งที่มาที่ใช่ประกอบบทความ
 
 
                 http://wiki.stjohn.ac.th/groups/poly_2000_1420_science_industry/wiki/26e29/

 
 

 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น